

พลิกโฉมระบบการทำนาของอาเซียน (ตอนที่ 2)
จากตอนที่แล้วที่กล่าวถึงภาคการเกษตรที่ถูกปรับเปลี่ยนไป วันนี้เรามาต่อกันในส่วนการปรับเปลี่ยนจากแรงงานสู่เครื่องจักรกลกันค่ะ ดร.ซามาเรนดู ได้เปรียบเทียบน้อยกลับไปถึงรูปแบบการทำนาดั้งเดิมของเอเชียที่มีลักษณะของการใช้แรงงาน ซึ่งพบว่ามีค่าจ้างแรงงานเป็นองค์ประกอบของต้นทุนถึง 45% ทำให้ชาวนาต้องหาแนวทางที่จะทดแทนแรงงานในกระบวนการทำนา เครื่องจักรกลการเกษตรจึงเริ่มเข้ามามีบทบาทเพื่อช่วยลดต้นทุนการคผลิตข้าวลง การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวได้สร้างโอกาสให้กับผู้ประกอบการเครื่องจักรกลการเกษตรขน


พลิกโฉมระบบการทำนาของอาเซียน (ตอนที่ 1)
ช่วงเวลา 5 - 10 ปีที่ผ่านมา ระบบการผลิตข้าวของโลกได้มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก โดยเฉพาะในทวีปเอเชียซึ่งเป็นผู้ผลิตข้าวกว่า 90% ของผลผลิตข้าวโลก ความเปลี่ยนแปลงที่ผ่านมาเป็นผลมาจากการปรับเปลี่ยนอุปสงค์และอุปทานของข้าวในโลก รวมทั้งนโยบายข้าวของแต่ละประเทศที่แตกต่างกันไป และนักจากนี้ไปอีก 10 ปีข้างหน้า ระบบการผลิตข้าวของโลกกำลังปรับเปลี่ยนและพัฒนาไปอีกขึ้น นั่นคือความท้าทายของแต่ละประเทศในอาเซียนที่จะต้องปรับตัวให้เท่าทัน ประชากรภาคการเกษตรที่ถูกปรับเปลี่ยน ในขณะเดียวกันส่วนของภ


กลยุทธ์ชนะด้วยการเปลี่ยนแปลง
เราไม่มีวันรู้ว่าพรุ่งนี้ราคาข้าวเปลือก-ข้าวสารจะขึ้นราคา หรือลงราคาสถานการณ์แบบนี้การบริหารแบบสู้ๆและแลกหมัด ใจร้อน ไม่รอบคอบมีแต่จะล้มเหลว บางคนชอบสู้ด้วยเดิมพันสูงๆ แล้วมานั่งเสียใจมีให้เห็นบ่อยๆ ต้องมีสติ รอบคอบ คิดใตร่ตรองให้รอบคอบอีกนิด การสู้ อย่างอ่อนประสบการณ์ ถ้าพลาดจะต้องพบกับการขาดทุนยากที่จะแก้ไข ธุรกิจโรงสีข้าวนั้นเป็นการทำตลาดอนาคต เพราะว่าไม่มีวันรู้ว่าราคาข้าวจะขึ้นหรือลงในวันพรุ่งนี้ เพราะถ้ารู้ก็รวยทุกคนไปแล้ว วันไหนที่ราคาข้าวสารลง ราคาข้าวเปลือกไม่ลง แต่ถ


ธุรกิจครอบครัว (บทที่ 2)
สัปดาห์นี้ต่อเนื่องจากสัปดาห์ที่แล้วนะครับ เป็นเรื่องของกับดักสำคัญของธุรกิจครอบครัว ว่าทำไมธุรกิจครอบครัวจำนวนมากถึงไม่ยั่งยืนเท่าที่ควร และส่วนใหญ่จะไม่สามารถอยู่เกินรุ่นที่สองหรือรุ่นที่สาม โดยผมเรียบเรียงมาจากบทความของ George Stalk และ Henry Foley ในชื่อ Avoid the traps that can destroy family business ในวารสาร Harvard Business Review โดยสัปดาห์ที่แล้วนำเสนอกับดักประการแรกไปแล้วคือ การที่คนในธุรกิจครอบครัวมักจะมีความรู้สึกว่ายังไงก็มีธุรกิจครอบครัวรองรับ ดังนั้น ต่อให้ล้ม


บทความเรื่อง เกี่ยวกับธุรกิจครอบครัว (บทที่ 1)
ในวารสาร Harvard Business Review ฉบับเดือนมกราคม กุมภาพันธ์นี้ มีบทความหนึ่งที่น่าสนใจเกี่ยวกับธุรกิจครอบครัว เขียนโดย George Stalk และ Henry Foley ในชื่่อ Avoid the traps that can destroy family business หรือ ถ้าแปลง่ายๆ คือการให้หลีกเลี่ยงกับดักและหลุมพรางสำหรับธุรกิจครอบครัว ซึ่งผมคิดว่าได้เปิดประเด็นที่น่าสนใจสำหรับธุรกิจครอบครัวทั้งหลายที่ปัจจุบันเริ่มเข้าสู่ยุคที่สองและยุคที่สามกันแล้ว ปัญหาของธุรกิจครอบครัวก็คือส่วนใหญ่จะไม่ยั่งยืน และไม่สามารถสืบทอดผ่านรุ่นที่สามได้ จ